พระ พิฆเนศ ทั้ง 32 ปาง กับ ความหมายที่ควรรู้

พระพิฆเนศ หรือ กานาพาทิ หรือ กาเนศ ที่คนอินเดียเรียกขานกัน มีทั้งหมด 32 ปาง คนส่วนใหญ่นำมาบูชา กัน เพราะเชื่อว่า เป็นเทพแห่งการ ขจัดอุปสรรคทั้งหลายทั้งปวง และ เป็นผู้มีความสามารถทางด้านศิลปะ ด้านวิทยาศาสตร์ด้านสติปัญญา ด้านภูมิปัญญา ที่สูงส่ง

ตาม  ตำนาน หรือ  ประวัติพระพิฆเนศ   คือ เทพองค์หนึ่ง ใน ศาสนา ฮินดู ที่มีคนสักการะ บูชามากมาย ทุกวรรณะ ทุกชนชั้น ทุกเผาพันธุ์  ทุกเชื้อชาติ เช่น อินเดีย เนปาล พม่า เขมร และไทย เป็นต้น

วิธีการ บูชา และ เตรียม ของที่จะ บูชาพระพิฆเนศ  แต่ล่ะประเทศ อาจแตกต่างกันออกไป ตาม สิ่งแวดล้อม สภาวะทางสังคม แต่มีสิ่งหนึ่งที่คล้ายกัน คือ ไม่นำเนื้อสัตว์ทุกชนิด มาเป็นเครืองสักการะ





  1. พระวิชัย คณปติ (Vijaya Ganapati)
  2. พระวิฆณา คณปติ (Vighna Ganapati)
  3. พระวระ คณปติ (Vara Ganapati)
  4. พระโยคะ คณปติ (Yoga Ganapati)
  5. พระพิฆเนศ ปาง พระอุทวะ คณปติ (Urdhva Ganapati)
  6. พระอุททันตะ คณปติ (Uddanda Ganapati)
  7. พระอุจฉิษฏะ คณปติ (Uchhishta Ganapati)
  8. พระตรุณ คณปติ (Taruna Ganapati)
  9. พระตรีมุข คณปติ (Trimukha Ganapati)
  10. พระตรีอักษรา คณปติ (Tryakshara Ganapati)
  11. พระสะริสติ คณปติ (Shrishti Ganapati)
  12. พระสิงหะ คณปติ (Sinha Ganapati)
  13. พระวีระ คณปติ (Veera Ganapati)
  14. พระสิทธิ คณปติ (Siddhi Ganapati)
  15. พระศักติ คณปติ (Shakti Ganapati)
  16. พระสังกตะหะรา คณปติ (Sankatahara Ganapati)
  17. พระรีนาโมจัน คณปติ (Runamochana Ganapati)
  18. พระนฤตยะ คณปติ (Nritya Gannapati)
  19. พระมหา คณปติ (Maha Ganapati)
  20. พระลักษมี คณปติ (Lakshmi Ganapati)
  21. พระกษิประ คณปติ (Kshipra Ganapati)
  22. พระกศิปะ ปรสัท คณปติ (Kshipra-Prasada Ganapati)
  23. พระเหรัมภะ คณปติ (Heramba Ganapati)
  24. พระหริทรา คณปติ (Haridra Ganapati)
  25. พระเอกอักษรา คณปติ (Ekaakshara Ganapati)
  26. พระตันติ คณปติ (Dhundhi Ganapati)
  27. พระภักติ คณปติ (Bhakti Ganapati)
  28. พระทุรคา คณปติ (Durga Ganapati)
  29. พระทวิชา คณปติ (Dwija Ganapati)
  30. พระทวิมุข คณปติ (Dwimukha Ganapati)
  31. พระเอกทันตะ คณปติ (Ekadanta Ganapati)
  32. พระบาล คณปติ (Bala Ganapati)

พระพิฆเนศ แต่ละ ปาง มี คาถาบูชา ที่จะนำมาสวด นั้น แตกต่างกันออกไป  ก็ต้องเลือกให้ถูกว่า ปางใหนใช้บทสวด อะไร  ส่วน 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น